
สร้างวัดแค่พระพออยู่ แล้วหันมาสร้างโรงพย า บ า ล
ดีกว่ามั้ย แง่คิดดีๆอย า กให้อ่าน
สร้างวัดแค่พระพออยู่ แล้วหันมาสร้างโ ร งพย า บ า ลไม่ดีกว่าหรือ?
เรามีเรื่องราวดีๆ มาฝากทุกคน บอกเลยว่าอ่านจบล่ะ
ต้องกลับมาเหลียวมองการทำบุญของเราในทุกวันนี้
ท่านเคยคิดหรือมองมุมมุมนี้ไหมครับ
วัดมีเงินเหลือร้อยล้านพันล้าน แต่โ ร งพย า บ า ลมี ”หนี้ร้อยล้าน”
เข้าโ ร งพย าบ า ลขอรับบริการฟรีๆดีๆ
เข้าวัด พระตีกระบาลแทบแ ต ก บอกชอบ ต้องบริจาคเงิน ”ให้เยอะๆ”
หมอรักษาจนหาย “ดีใจรอดต า ย”
รีบกลับไปแก้บน สร้างวัด,สร้างวิหาร,ไหว้พระขอบคุณพระ
หมอรักษาไม่ไหว ไปไม่รอดตามวัฎส งส า ร กลับด่ าห ม อ ด่ าพย า บ าล
ไม่ไปด่ า เ ท ว ด าที่บนไว้
มาคิดใหม่ ทำใหม่
สร้างวัด สร้างวิหารแค่พระพออยู่
แล้วมาสร้างโ ร งพย าบาลที่ดี มีเครื่องมือแพทย์ทันสมัย
รักษาคนป่ ว ยให้หายไวๆ
ดีกว่าไหมครับ?
ทั้งนี้เรามาสรุปปัญหาที่เกิดขึ้น ระหว่างการสร้างวัด
สร้างโรงบาลปัญหาเรื่องที่ว่า การทำบุญให้โรงพ ย า บาล
กับการทำบุญให้กับวัด อะไรดีกว่ากัน ?
เรามาถึงยุคที่คนไ ท ยไม่เข้าใจกันเ สี ยแล้ว ว่าการทำบุญบริจาคให้กับวัด
ทำเพื่อประโยชน์อะไร ? ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะมีวัดหลายแห่ง
นำศรัทธามาขาย แต่ไม่ผูกโยงไว้ด้วยปัญญา เช่น สอนกันว่าเงินซื้อนิพพานได้
หรือไม่ก็เน้นกันที่เครื่องรางของขลัง พิธี ก ร ร ม สิ่งศักสิทธิ์ มีศรัทธา
เป็นเหยื่อ แต่ไม่ใช้ปัญญา ทำให้คนไ ท ยเริ่มห่างวัดมากขึ้น จนท้ายที่สุด
คนไ ท ยหลายคนอาจกลายเป็น “คนเ ก ลี ย ดวัด” ไปโดยปริย า ย
ผนวกกับแนวคิดแบบสุดโต่งทางวิทย า ศาสตร์ที่เชื่อว่า…!!โ รงพย าบาล
เป็นสถานที่อันประเสริฐในการช่วยรักษามนุษย์ให้หายขาดจากความ
“เ จ็ บป่ วย” จึงให้คุณค่าของโ รง พย าบาลดูสูงส่งมากกว่าวัด
ทำให้เกิดข้อถกเถียงกันว่า ทำบุญสร้างโบสถ์สร้างวัด
กับทำบุญสร้างโ ร งพย าบาล อะไรดีกว่ากัน.. ?
ง่ายนิดเดียวสำหรับคำถามนี้ เราแค่ต้องขบคิดให้แ ต ก ฉ านเ สี ยก่อนว่า
โ ร งพย า บาลมีความสาม า รถอะไรที่วัดไม่สาม า รถกระทำได้
และ วัดมีความสาม า ร ถอะไรที่โ ร งพ ย า บาลไม่สาม า รถกระทำได้บ้าง ?
โ ร งพย า บ าล อาจรักษาคนที่ ป่ ว ยไ ข้ทางก า ยได้
แต่โ รงพย า บาลไม่สาม า รถสมานแผลทางจิตใจได้
โ รงพย า บ าลไม่ได้ช่วยให้มนุษย์รู้จักละความโลภ โกรธ หลง
เช่นเดียวกับที่วัดไม่สาม า รถรักษาโ ร คทางกาย
ในเชิงวิท ย าศาสตร์แบบที่โ ร งพย าบาลสาม า รถทำได้
โ ร งพย าบาลอาจยื้อชีวิตมนุษย์ให้ยืดย าวออกไป แต่โ ร งพ ย าบาล
ก็ไม่ได้บอกความจริงกับมนุษย์ว่า ร่างกายนี้เป็นของชั่ ว คราว
ถ้าเราไปยึดมันมาเป็นของเราอย่างถาวร เราจะเป็นทุ ก ข์…
โ ร งพย าบาลไม่ได้บอกเราแบบนี้หน้าที่ของโ ร งพย าบาล
คือ ทำยังไงให้ร่างกายนี้ยังคงทำงานต่อไปให้ได้นาน
และมีประสิทธิภาพที่สุด
วัด รักษา “โ ร ค” ทางกายแบบโ ร งพ ย าบาล
ไม่ได้ แต่วัดช่วยเ ยี ย วย า
“ความทุ ก ข์” ในใจคนได้ ซึ่งวัด (ที่ดี) จะสอนให้คนไม่ยึดเ อ าอดีต
ที่เ จ็ บป ว ด มาเป็นธ นู ด อ กที่สอง ซึ่งคอยทิ่มแ ท งเราก่อนนอนทุกคืน
วั ดไม่สาม า รถช่วยให้เราปราศจาก “โ ร ค”
แบบโรงพย าบาลได้ แต่วัดช่วยให้เราหมด “ภั ย” ด้วยการรู้จักให้ “อ ภั ย” ได้
ซึ่งแ ต ก ต่างจากโ ร งพย าบาลที่ช่วยให้เราหมด “โ ร ค”
แต่อาจไม่หมด “ภั ย” อีกทั้งวัดยังช่วยให้เราเบิกบาน
จากการมีสติ ไม่เ อ าเรื่องที่ยังไม่เกิดขึ้นในอนาคตมาเป็นบ่วงรัดคอตน
ทีนี้ ทำบุญบริจาคกับวัด หรือ ทำบุญบริจาค
กับโรงพย าบาล ควรเลือกอย่างไหน ?
: ควรเลือกทั้ง 2 อย่าง ถ้าเราลองพิจารณาอย่างถี่ถ้วน
แล้วก็จะพบว่า สังคมเราต้องการทั้งโ รงพย าบาลและวัด
เราต้องการทั้งสถานที่ ๆ เยียวย า ทั้ง “ร่างกายและจิตใจ”
พุทธองค์แสดงให้เราเห็นเป็นตัวอย่างโดยการถนอมร่างกาย
เ อ าไว้เพื่อทำคุณประโยชน์แก่โลก
(พุ ท ธเจ้าจึงไม่ดื่มเ ห ล้ า เ ส พ ของเ ม า และละทิ้ งการท รม า นต น)
เราก็ควรจะเ อ า เยี่ยงอย่าง หากเราเ จ็ บป่ ว ยก็เข้าโร งพย า บ าล
มันเป็นไปตามธรรมชาติของมัน
มีเกิด มีแก่ มีเ จ็ บ มีต า ย เราก็รักษาnullไปเพื่อหวังว่า
จะมีพรุ่งนี้ที่ได้ทำคุณประโยชน์ต่อโลก ต่อผู้อื่น
ได้ทำหน้าที่ ที่ยังค้างคาอยู่ ทั้งหน้าที่ของพ่อ แม่ สามี ภรร ย า
หน้าที่ของลูก และหน้าที่การงาน โดยไม่ต้องหวัง
ที่จะหอบสังขารหนีจากความต า ย เพราะมันเป็นไปไม่ได้
ในส่วนของ จิตใจ ที่พึ่งพิงอาศัยอยู่ในกาย ทั้งยังมีอำนาจ
อยู่เหนือกายด้วย “จิต/ใจ เป็นนาย กายเป็นบ่าว”
ถ้ามนุษย์ไม่พึงพัฒนาให้มี จิต/ใจ ที่ดีงาม ปราณีต
ชีวิตก็จะมีแ ต่ ก า ยที่เที่ยวทำตามแต่ตัณหา อันมีกิเลสเป็นเหยื่อล่อ
โลกก็จะลุกเป็นไฟจากการเบียดเบียนกัน
โดยหวังเพียงเพื่อแสวงหาความสุขนอกกายเป็นสำคัญ
ทีนี้บางคนอาจเถียงว่า “ชีวิตฉันไม่ต้องมีวัด
จิตใจฉันก็ประเสริฐอยู่แล้ว” ก็ต้องบอกว่า
ขออนุโมทนากับท่านที่เกิดพุทธิปัญญาแบบนี้ได้โดย
ไม่ต้องเข้าวัดหรือไม่ต้องศึกษาพระธรรม แต่อย า กจะร้องขอ
ให้ท่านมีความเมตตาต่อสัตว์โลก ที่ยังไม่สาม า รถก้าวข้าม
ความทุ ก ข์ไปสู่ทางพ้นทุ ก ข์ได้ แต่ละคนมีสติ
และปัญญาไม่เท่ากัน ได้โปรดเห็นใจและช่วยเหลือสั ต ว์โ ล ก
ที่มีปัญญาไม่เท่าพวกท่านด้วย “ท่านอาจไม่ต้องการวัด
แต่คนอื่น ๆ อาจต้องการวัด”
ท้ายที่สุดคงต้องมองดูการบริจาคด้วย
‘สติ’ และ ‘ปัญญา’ โดยคำว่า
“บริจาค” มาจากคำว่า ‘ปริจจาคะ’ หมายถึงการเ สี ยสละ
แต่ถ้าจะพูดให้แลดูไม่ถูกเ อ า เปรียบนัก อาจต้องใช้คำว่า
“เผื่อแผ่” และก็คงจะดีไม่น้อย ถ้าเราจะเผื่อแผ่อะไรบางอย่าง
ในชีวิตของเรา เพื่อต่ออายุทางกายให้กับผู้อื่น
และช่วยเยียวย า ความทุ ก ข์ในใจของผู้อื่นได้ด้วย….
คุณว่าจริงไหม ?
ขอบคุณแหล่งที่มา bangpunsara